มานุษยวิทยาอุษาคเนย์
มานุษยวิทยาอุษาคเนย์
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : พิเชษฐ สายพันธุ์
- ISBN :9786163148070
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 290
- ขนาดไฟล์ : 3.53 MB
อุษาคเนย์ หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) เป็นภูมิภาคที่ประกอบด้วยความหลากหลายของกลุ่มสังคมและกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆ ที่สลับซับซ้อนมากที่สุดบริเวณหนึ่งของโลก การตั้งถิ่นฐานอันหลากหลายและกระจายตัวอยู่ทั่วไปในภูมิภาค ของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตามหลักฐานทางโบราณคดี การบูรณาการทางสังคมที่แตกต่างกันด้วยพัฒนาการภายในและการติดต่อแลกเปลี่ยนกับอารยธรรมทางไกลที่มาจากโลกตะวันออกและโลกตะวันตก การเปลี่ยนผ่านลักษณะสังคมจากสังคมแบบจารีตประเพณีมาสู่สังคมสมัยใหม่ด้วยอิทธิพลในช่วงสมัยอาณานิคมและหลังอาณานิคม ตลอดจนสภาวะโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน ทำให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพื้นที่สำคัญทางการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี มานุษยวิทยา ตลอดจนศาสตร์สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นักมานุษยวิทยาเองให้ความสนใจศึกษาภูมิภาคนี้เป็นอย่างมากจนทำให้อาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น “สวรรค์ของการศึกษาทางมานุษยวิทยา”
สารบัญ
ภาคนำ มานุษยวิทยากับเขตวัฒนธรรมอุษาคเนย์
- บทนำ: มานุษยวิทยากับอุษาคเนย์
- เขตวัฒนธรรมอุษาคเนย์ : ปัญหาการนิยามภูมิภาคและแนวทางศึกษา
ภาคที่ 1 พัฒนาการวัฒนธรรมและสังคมอุษาคเนย์
- โบราณคดีอุษาคเนย์ : ผู้คนกับพัฒนาการทางวัฒนธรรมและสังคม
- บูรณาการวัฒนธรรมกับอารยธรรมทางไกล : มังกรเหิน ภารตาผสาน อิสลามยาตรา
- ใต้ปีกยุโรป-โลกาสมัย: อัศดงคตวิถีและอาณานิคม
- สังคมใหม่หลังอาณานิคม : รัฐใหม่ ชาตินิยมชาตินิยมเชิงชาติพันธุ์ และวิถีโลกาภิวัตน์
- บทส่งท้ายภาคที่ 1 พัฒนาการวัฒนธรรมและสังคมอุษาคเนย์
ภาคที่ 2 ประเด็นศึกษา : ชาติพันธุ์ เมือง เพศ รัฐมานุษยวิทยาข้ามพรมแดนและการเคลื่อนย้าย
- หลากหลายชาติพันธุ์ในกรอบจำกัด
- ชีวิตเมือง
- พหุเพศสภาพและเพศวิถี
- การเคลื่อนย้ายศึกษาและมานุษยวิทยาข้ามพรมแดน
- บทส่งท้าย มานุษยวิทยาอุษาคเนย์
ฯลฯ
อุษาคเนย์ หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) เป็นภูมิภาคที่ประกอบด้วยความหลากหลายของกลุ่มสังคมและกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆ ที่สลับซับซ้อนมากที่สุดบริเวณหนึ่งของโลก การตั้งถิ่นฐานอันหลากหลายและกระจายตัวอยู่ทั่วไปในภูมิภาค ของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตามหลักฐานทางโบราณคดี การบูรณาการทางสังคมที่แตกต่างกันด้วยพัฒนาการภายในและการติดต่อแลกเปลี่ยนกับอารยธรรมทางไกลที่มาจากโลกตะวันออกและโลกตะวันตก การเปลี่ยนผ่านลักษณะสังคมจากสังคมแบบจารีตประเพณีมาสู่สังคมสมัยใหม่ด้วยอิทธิพลในช่วงสมัยอาณานิคมและหลังอาณานิคม ตลอดจนสภาวะโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน ทำให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพื้นที่สำคัญทางการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี มานุษยวิทยา ตลอดจนศาสตร์สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นักมานุษยวิทยาเองให้ความสนใจศึกษาภูมิภาคนี้เป็นอย่างมากจนทำให้อาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น “สวรรค์ของการศึกษาทางมานุษยวิทยา”
สารบัญ
ภาคนำ มานุษยวิทยากับเขตวัฒนธรรมอุษาคเนย์
- บทนำ: มานุษยวิทยากับอุษาคเนย์
- เขตวัฒนธรรมอุษาคเนย์ : ปัญหาการนิยามภูมิภาคและแนวทางศึกษา
ภาคที่ 1 พัฒนาการวัฒนธรรมและสังคมอุษาคเนย์
- โบราณคดีอุษาคเนย์ : ผู้คนกับพัฒนาการทางวัฒนธรรมและสังคม
- บูรณาการวัฒนธรรมกับอารยธรรมทางไกล : มังกรเหิน ภารตาผสาน อิสลามยาตรา
- ใต้ปีกยุโรป-โลกาสมัย: อัศดงคตวิถีและอาณานิคม
- สังคมใหม่หลังอาณานิคม : รัฐใหม่ ชาตินิยมชาตินิยมเชิงชาติพันธุ์ และวิถีโลกาภิวัตน์
- บทส่งท้ายภาคที่ 1 พัฒนาการวัฒนธรรมและสังคมอุษาคเนย์
ภาคที่ 2 ประเด็นศึกษา : ชาติพันธุ์ เมือง เพศ รัฐมานุษยวิทยาข้ามพรมแดนและการเคลื่อนย้าย
- หลากหลายชาติพันธุ์ในกรอบจำกัด
- ชีวิตเมือง
- พหุเพศสภาพและเพศวิถี
- การเคลื่อนย้ายศึกษาและมานุษยวิทยาข้ามพรมแดน
- บทส่งท้าย มานุษยวิทยาอุษาคเนย์
ฯลฯ
สารบัญ
ภาคนำ มานุษยวิทยากับเขตวัฒนธรรมอุษาคเนย์
- บทนำ: มานุษยวิทยากับอุษาคเนย์
- เขตวัฒนธรรมอุษาคเนย์ : ปัญหาการนิยามภูมิภาคและแนวทางศึกษา
ภาคที่ 1 พัฒนาการวัฒนธรรมและสังคมอุษาคเนย์
- โบราณคดีอุษาคเนย์ : ผู้คนกับพัฒนาการทางวัฒนธรรมและสังคม
- บูรณาการวัฒนธรรมกับอารยธรรมทางไกล : มังกรเหิน ภารตาผสาน อิสลามยาตรา
- ใต้ปีกยุโรป-โลกาสมัย: อัศดงคตวิถีและอาณานิคม
- สังคมใหม่หลังอาณานิคม : รัฐใหม่ ชาตินิยมชาตินิยมเชิงชาติพันธุ์ และวิถีโลกาภิวัตน์
- บทส่งท้ายภาคที่ 1 พัฒนาการวัฒนธรรมและสังคมอุษาคเนย์
ภาคที่ 2 ประเด็นศึกษา : ชาติพันธุ์ เมือง เพศ รัฐมานุษยวิทยาข้ามพรมแดนและการเคลื่อนย้าย
- หลากหลายชาติพันธุ์ในกรอบจำกัด
- ชีวิตเมือง
- พหุเพศสภาพและเพศวิถี
- การเคลื่อนย้ายศึกษาและมานุษยวิทยาข้ามพรมแดน
- บทส่งท้าย มานุษยวิทยาอุษาคเนย์
ฯลฯ