คงเหลือ รอคิว รอ/วัน
1/1 0 0
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : นิตยา วงศ์ภินันท์วัฒนา
  • ISBN :9786163145048
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 387
  • ขนาดไฟล์ : 7.84 MB
หนังสือ ระเบียบวิธีวิจัยด้านระบบสารสนเทศ เล่มนี้ ได้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับการจัดทำวิจัยทางธุรกิจและการจัดการระบบสารสนเทศ จากประสบการณ์ของผู้เขียนด้านการสอนวิจัยธุรกิจและวิจัยด้านการจัดการระบบสารสนเทศ ตลอดจนการศึกษาค้นคว้าวิชาการเกี่ยวกับการวิจัยด้านการจัดการระบบสารสนเทศโดยปรับปรุงจากหนังสือ วิจัยด้านการจัดการระบบสารสนเทศ ซึ่งจัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ในปี 2556 และพิมพ์เพิ่มในปี 2559 และเพิ่มเติมเนื้อหา ตัวอย่างงานวิจัยด้านระบบสารสนเทศ รวมทั้งมีการเรียบเรียงใหม่เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย และเปลี่ยนชื่อหนังสือให้สอดคล้องกับบริบทเป็น ระเบียบวิธีวิจัยด้านระบบสารสนเทศ เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยด้านระบบสารสนเทศในทุกระดับ เช่น นักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก นักวิจัยรุ่นใหม่ นักปฏิบัติการวิจัย และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำวิจัย ซึ่งจะสามารถเข้าใจการจัดทำวิจัยธุรกิจและการจัดการระบบสารสนเทศได้ดียิ่งขึ้น และยังสามารถนำไปต่อยอดในระดับสูงต่อไปได้ ส่วนความรู้เชิงลึกด้านสถิติสำหรับการวิจัย เป็นองค์ความรู้ในสาขาวิชาอื่นจึงไม่ได้เน้นในที่นี้ สารบัญ บทที่ 1 ภาพรวมเบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย บทที่ 2 การค้นหาและพัฒนาหัวข้อวิจัย บทที่ 3 การวิเคราะห์งานวิจัยในอดีต บทที่ 4 การสร้างทฤษฎีสำหรับงานวิจัย บทที่ 5 เครื่องมือเพื่อการวิจัย บทที่ 6 กลุ่มตัวอย่าง บทที่ 7 ภาพในแนวกว้างของวิธีการวิจัย บทที่ 8 การวิจัยเชิงสำรวจ บทที่ 9 การวิจัยเชิงทดลอง ฯลฯ
หนังสือ ระเบียบวิธีวิจัยด้านระบบสารสนเทศ เล่มนี้ ได้รวบรวมความรู้เกี่ยวกับการจัดทำวิจัยทางธุรกิจและการจัดการระบบสารสนเทศ จากประสบการณ์ของผู้เขียนด้านการสอนวิจัยธุรกิจและวิจัยด้านการจัดการระบบสารสนเทศ ตลอดจนการศึกษาค้นคว้าวิชาการเกี่ยวกับการวิจัยด้านการจัดการระบบสารสนเทศโดยปรับปรุงจากหนังสือ วิจัยด้านการจัดการระบบสารสนเทศ ซึ่งจัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ในปี 2556 และพิมพ์เพิ่มในปี 2559 และเพิ่มเติมเนื้อหา ตัวอย่างงานวิจัยด้านระบบสารสนเทศ รวมทั้งมีการเรียบเรียงใหม่เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย และเปลี่ยนชื่อหนังสือให้สอดคล้องกับบริบทเป็น ระเบียบวิธีวิจัยด้านระบบสารสนเทศ เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยด้านระบบสารสนเทศในทุกระดับ เช่น นักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก นักวิจัยรุ่นใหม่ นักปฏิบัติการวิจัย และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำวิจัย ซึ่งจะสามารถเข้าใจการจัดทำวิจัยธุรกิจและการจัดการระบบสารสนเทศได้ดียิ่งขึ้น และยังสามารถนำไปต่อยอดในระดับสูงต่อไปได้ ส่วนความรู้เชิงลึกด้านสถิติสำหรับการวิจัย เป็นองค์ความรู้ในสาขาวิชาอื่นจึงไม่ได้เน้นในที่นี้

สารบัญ
บทที่ 1 ภาพรวมเบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
บทที่ 2 การค้นหาและพัฒนาหัวข้อวิจัย
บทที่ 3 การวิเคราะห์งานวิจัยในอดีต
บทที่ 4 การสร้างทฤษฎีสำหรับงานวิจัย
บทที่ 5 เครื่องมือเพื่อการวิจัย
บทที่ 6 กลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 7 ภาพในแนวกว้างของวิธีการวิจัย
บทที่ 8 การวิจัยเชิงสำรวจ
บทที่ 9 การวิจัยเชิงทดลอง
ฯลฯ