คงเหลือ รอคิว รอ/วัน
1/1 0 0
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : เกษรา รักษ์พงษ์สิริ
  • ISBN :9786163143334
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 131
  • ขนาดไฟล์ : 10.28 MB
ปัจจุบันความเจริญ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความ ก้าวหน้าอย่างมาก การสร้างเครื่องมือต่างๆ ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ให้สามารถวัดได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และมีความเที่ยงตรงมากที่สุด การวัดสัญญาณทางสรีรวิทยาเป็นตัวแปรสำคัญที่แสดงการทำงานของระบบต่างๆ ของร่างกายและเป็นดัชนีชี้วัดเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของร่างกายเบื้องต้น แม้ว่าหลายคนที่มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ด้านสรีรวิทยาของระบบหัวใจและหลอดเลือด แต่การออกแบบสร้างและพัฒนาเครื่ องมือเพื่ อแสดงหรือวิเคราะห์สัญญาณดังกล่าวไม่ใช่เรื่ องง่าย เนื่องจากเป็นการวัดค่าสัญญาณชีพที่มาจากคน จะต้องมีการออกแบบเครื่ องมือให้มีความไวต่อการรับสัญญาณมีความสัมพันธ์กับค่าจริง สามารถเป็นตัวแทนได้อย่างแท้จริงและต้องมีความปลอดภัย สารบัญ บทที่ 1 สรีรวิทยาของหัวใจและหลอดเลือด บทที่ 2 หลักการของเครื่องมือวัดสัญญาณทั่วไป บทที่ 3 การพัฒนาเครื่องมือวัดสัญญาณทางสรีรวิทยาของหัวใจ บทที่ 4 การพัฒนาเครื่องมือวัดสัญญาณทางสรีรวิทยาของหัวใจ บทที่ 5 ประโยชน์และการนำไปใช้ บทที่ 6 ปัญหาและแนวทางแก้ไขสัญญาณรบกวน ฯลฯ
ปัจจุบันความเจริญ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความ ก้าวหน้าอย่างมาก การสร้างเครื่องมือต่างๆ ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ให้สามารถวัดได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และมีความเที่ยงตรงมากที่สุด การวัดสัญญาณทางสรีรวิทยาเป็นตัวแปรสำคัญที่แสดงการทำงานของระบบต่างๆ ของร่างกายและเป็นดัชนีชี้วัดเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของร่างกายเบื้องต้น แม้ว่าหลายคนที่มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ด้านสรีรวิทยาของระบบหัวใจและหลอดเลือด แต่การออกแบบสร้างและพัฒนาเครื่ องมือเพื่ อแสดงหรือวิเคราะห์สัญญาณดังกล่าวไม่ใช่เรื่ องง่าย เนื่องจากเป็นการวัดค่าสัญญาณชีพที่มาจากคน จะต้องมีการออกแบบเครื่ องมือให้มีความไวต่อการรับสัญญาณมีความสัมพันธ์กับค่าจริง สามารถเป็นตัวแทนได้อย่างแท้จริงและต้องมีความปลอดภัย

สารบัญ
บทที่ 1 สรีรวิทยาของหัวใจและหลอดเลือด
บทที่ 2 หลักการของเครื่องมือวัดสัญญาณทั่วไป
บทที่ 3 การพัฒนาเครื่องมือวัดสัญญาณทางสรีรวิทยาของหัวใจ
บทที่ 4 การพัฒนาเครื่องมือวัดสัญญาณทางสรีรวิทยาของหัวใจ
บทที่ 5 ประโยชน์และการนำไปใช้
บทที่ 6 ปัญหาและแนวทางแก้ไขสัญญาณรบกวน
ฯลฯ