การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรมสยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม พ.3
การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรมสยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม พ.3
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มติชน
- Author : ชาตรี ประกิตนนทการ
- ISBN :9789740218449
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 546
- ขนาดไฟล์ : 34.38 MB
บอกเล่าปรากฏการณ์ทางสถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไทยตั้งแต่ พ.ศ.2394 - พ.ศ.2500 ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นนำสมัยรัชกาลที่ 4 ความเชื่อแบบวิทยาศาสตร์เข้ามาแทนที่โลกทัศน์แบบไตรภูมิ ความต้องการสร้างความศิวิไลซ์ให้ทัดเทียมตะวันตก การปฏิรูปการปกครองภายใต้แนวคิดสมบูรณาญาสิทธิราชย์ วิกฤตอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม จนมาถึงความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตย และกระแสอนุรักษ์นิยมในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม สมัยที่ 2 ล้วนส่งผลต่อความคิดของผู้คน สะท้อนสภาพสังคม ความคิดในการออกแบบและสร้างสถาปัตยกรรมทั้งสิ้น
บทนำ การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ผ่านมุมมองทางสังคมและการเมือง
1 จากจักรวาลทัศน์แบบไตรภูมิสู่จักรวาลทัศน์สมัยใหม่ แบบวิทยาศาสตร์ในสถาปัตยกรรม
2 ความหมายทางสังคมและการเมือง ในงานสถาปัตยกรรมยุคสยามใหม่
3 รูปแบบสถาปัตยกรรมเมื่อยามสนธยา ของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (พ.ศ. 2453-2475)
4 ความหมายทางสังคมและการเมืองในงานสถาปัตยกรรม ภายใต้อุดมการณ์ประชาธิปไตยและชาตินิยมไทย (พ.ศ. 2475-2490)
5 ความหมายทางสังคมและการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กับการรื้อฟื้นรูปแบบจารีตและรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ (พ.ศ. 2490-2500)
1 จากจักรวาลทัศน์แบบไตรภูมิสู่จักรวาลทัศน์สมัยใหม่ แบบวิทยาศาสตร์ในสถาปัตยกรรม
2 ความหมายทางสังคมและการเมือง ในงานสถาปัตยกรรมยุคสยามใหม่
3 รูปแบบสถาปัตยกรรมเมื่อยามสนธยา ของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (พ.ศ. 2453-2475)
4 ความหมายทางสังคมและการเมืองในงานสถาปัตยกรรม ภายใต้อุดมการณ์ประชาธิปไตยและชาตินิยมไทย (พ.ศ. 2475-2490)
5 ความหมายทางสังคมและการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กับการรื้อฟื้นรูปแบบจารีตและรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ (พ.ศ. 2490-2500)